เกี่ยวกับผู้พิพากษา "นอกสถาบัน" ในระบบยุติธรรมของนอร์เวย์ครับ ข้างล่างนี่คือสรุปความโดยคุณพิภพ อุดมอิทธิพงศ์ :
"ความรู้ใหม่ในคดีฆาตกรรมหมู่ที่นอร์เวย์นั้น ระบบยุติธรรมของนอร์เวย์ใช้ระบบ lay judge ตอนแรกผมคิดว่าเป็นลักษณะ "ผู้พิพากษาสมทบ" บ้านเราซึ่งใช้แต่ในศาลเยาวชนและครอบครัวและศาลแรงงาน แต่ความจริงในนอร์เวย์ กว่าร้อยปีที่ผ่านมามีการให้องค์คณะที่ติดสินความอาญา "ทุกคดี" ต้องประกอบด้วยผู้พิพากษาสองส่วนคือ ผู้พิพากษามืออาชีพ (professional judge) ซึ่งต้องจบกฎหมายและคัดเลือกจากหน่วยงานอิสระ อีกส่วนหนึ่งคือ lay judge ที่ว่าซึ่งจบการศึกษาและมีอาชีพอะไรก็ได้แต่ต้องได้รับการเสนอชื่อและคัดเลือกจากหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น มีอายุการดำรงตำแหน่งทุกสี่ปี และสามารถถูกถอดได้ถ้าไปมีผลประโยชน์ทับซ้อนกับคดี ดังในการไต่สวนครั้งนี้ lay judge คนหนึ่งเคยไปโพสต์ว่าเบรวิกควรได้รับโทษประหาร เขาเลยถูกถอด"
"นอกจากนี้ lay judge ยังมีอำนาจเท่าเทียมกับผู้พิพากษามืออาชีพ และตัดสินทั้งความผิดและกำหนดบทลงโทษด้วย (ในระบบลูกขุนหรือ jury คณะลูกขุนจะตัดสินได้เฉพาะว่ามีความผิดหรือไม่ แต่ผู้พิพากษาจะเป็นผู้ชี้ขาดและกำหนดโทษอีกทีหนึ่ง) ในคดีของเบรวิก มีผู้พิพากษามืออาชีพเพียงสองท่าน อีกสามท่านเป็น lay judge อย่างที่ว่า ทั้งหมดสะท้อนอุดมการณ์ของคนนอร์เวย์ที่ต้องการ "ถ่วงดุลอำนาจทางการและสถาบัน" ("provide a counterbalance to "official power and the establishment") แม้แต่อำนาจศาล!"
Art Bact' อันนี้ที่ Pipob Udomittipong โพสต์ในวอลล์ครับ
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=273741376049877&id=824066648
บทความใน The Economist สั้นๆ ตั้งคำถามว่า ถ้าเงินสนับสนุนการวิจัยทั้งหลายมาจากสาธารณะ (ไม่ว่าจะจากเงินภาษีหรือเงินจากองค์กรการกุศล-ซึ่งเงินบริจาคก็เอาไปหักภาษีได้) แล้วทำไมผลการวิจัยถึงไม่เปิดให้สาธารณะเข้าถึงได้ฟรีๆ ?
ประเด็นนี้จริงๆ เป็นคำถามที่มากกว่าเรื่องการเข้าถึงบทความในวารสารวิชาการ แต่รวมไปถึงข้อมูลต่างๆ ด้วย เช่นข้อมูลสภาพอากาศ สถิติ คลังข้อความ (corpus)
อีกประเด็นเกี่ยวเนื่องก็คือ ผู้จัดทำข้อมูลบางแห่งจะระบุว่า ถ้าไม่ได้เอาไปใช้เพื่อการค้าก็ฟรี (เช่นข้อมูลจากเว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา หรือคลังข้อมูลที่เนคเทคเผยแพร่ ซึ่งก็ imply ว่าถ้าจะเอาไปใช้เพื่อการค้าก็ต้องจ่าย)
ในกรณีของข้อมูลที่ได้มาจากเงินสาธารณะ ก็มีข้อถกเถียงว่า แม้จะเอาไปใช้เพื่อการค้า ก็ไม่ควรจะต้องจ่ายอีกแล้ว เพราะถือว่านี่เป็นการลงทุนโดยรัฐ คนทุกคนควรจะได้ประโยชน์จากตรงนั้นเท่ากันหมด และแม้จะมีเอกชนเอาไปใช้เพื่อการค้า แต่ถ้าข้อมูลตรงนั้นทำให้สินค้าหรือบริการมีคุณภาพดีขึ้น สาธารณะก็จะได้ประโยชน์อยู่ดีในที่สุด (และต่อให้เป็นบริษัทต่างชาติ เอาข้อมูลเกี่ยวกับไทยไปใช้ คนไทยก็น่าจะได้ประโยชน์จากสินค้าและบริการที่ "เข้าใจคนไทยมากขึ้น" อยู่ดี)
ในอีกทางอีกหนึ่ง ก็มีข้อถกเถียงว่า แต่ถ้าเก็บสตางค์บ้าง ก็จะทำให้ได้เงินกลับมาวิจัยเพิ่มเติม ก็เป็นประโยชน์กับสาธารณะเหมือนกัน
เปิดประเด็นไว้ครับ ว่าผลงานที่เกิดจากเงินของสาธารณะ ควรจะเปิดให้เข้าถึงยังไงแบบไหน
http://www.economist.com/node/21552574 PUBLISHING obscure academic journals is that rare thing in the media industry: a licence to print money. Jittat Fakcharoenphol ผู้ให้ทุนวิจัยก็มีการเริ่มบังคับให้ผลการวิจัยต้องเป็น public access แล้วนะครับ เช่น NIH http://publicaccess.nih.gov/
วันนี้ FBI จับ John ชาว Ohio ว่าเป็นหนึ่งใน Anonymous เป็นข่าวในสื่อสองสาม source (ในเวลาที่เขียน) พวก Anon ปล่อยเอกสารคำสั่งศาล ที่ระบุชัดว่า Twitter ให้ข้อมูลกับ FBI นอกจาก IP logs ยังรวมถึง tweet และ DM ด้วย
Indictment and Complaint against "Anonymous" hacker
John Anthony Borell III, of Toledo, Ohio, faces two counts of felony computer intrusion, according to court documents unsealed Monday in federal court.
Borell is accused of hacking the websites of the Utah Chiefs of Police Association and the Salt Lake City Police Department in January.
He is apparently associated with a group called "Anonymous," which is a hacker-activist network that encourages members to hack into computer systems, court documents state.
http://www.scribd.com/doc/89670544/Indictment-and-Complaint-against-Anonymous-hacker
ข่าวเกี่ยวกับ John
http://fox13now.com/2012/04/16/feds-arrest-man-accused-of-hacking-slc-pd-website-for-anonymous/
ข่าวจับ John
http://www.huffingtonpost.com/2012/04/16/john-anthony-borell-iii-anonymous-utah_n_1429106.html?ncid=edlinkusaolp00000003
บทความใน The Economist สั้นๆ ตั้งคำถามว่า ถ้าเงินสนับสนุนการวิจัยทั้งหลายมาจากสาธารณะ (ไม่ว่าจะจากเงินภาษีหรือเงินจากองค์กรการกุศล-ซึ่งเงินบริจาคก็เอาไปหักภาษีได้) แล้วทำไมผลการวิจัยถึงไม่เปิดให้สาธารณะเข้าถึงได้ฟรีๆ ?
ประเด็นนี้จริงๆ เป็นคำถามที่มากกว่าเรื่องการเข้าถึงบทความในวารสารวิชาการ แต่รวมไปถึงข้อมูลต่างๆ ด้วย เช่นข้อมูลสภาพอากาศ สถิติ คลังข้อความ (corpus)
อีกประเด็นเกี่ยวเนื่องก็คือ ผู้จัดทำข้อมูลบางแห่งจะระบุว่า ถ้าไม่ได้เอาไปใช้เพื่อการค้าก็ฟรี (เช่นข้อมูลจากเว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา หรือคลังข้อมูลที่เนคเทคเผยแพร่ ซึ่งก็ imply ว่าถ้าจะเอาไปใช้เพื่อการค้าก็ต้องจ่าย)
ในกรณีของข้อมูลที่ได้มาจากเงินสาธารณะ ก็มีข้อถกเถียงว่า แม้จะเอาไปใช้เพื่อการค้า ก็ไม่ควรจะต้องจ่ายอีกแล้ว เพราะถือว่านี่เป็นการลงทุนโดยรัฐ คนทุกคนควรจะได้ประโยชน์จากตรงนั้นเท่ากันหมด และแม้จะมีเอกชนเอาไปใช้เพื่อการค้า แต่ถ้าข้อมูลตรงนั้นทำให้สินค้าหรือบริการมีคุณภาพดีขึ้น สาธารณะก็จะได้ประโยชน์อยู่ดีในที่สุด (และต่อให้เป็นบริษัทต่างชาติ เอาข้อมูลเกี่ยวกับไทยไปใช้ คนไทยก็น่าจะได้ประโยชน์จากสินค้าและบริการที่ "เข้าใจคนไทยมากขึ้น" อยู่ดี)
ในอีกทางอีกหนึ่ง ก็มีข้อถกเถียงว่า แต่ถ้าเก็บสตางค์บ้าง ก็จะทำให้ได้เงินกลับมาวิจัยเพิ่มเติม ก็เป็นประโยชน์กับสาธารณะเหมือนกัน
เปิดประเด็นไว้ครับ ว่าผลงานที่เกิดจากเงินของสาธารณะ ควรจะเปิดให้เข้าถึงยังไงแบบไหน
ประเด็นนี้จริงๆ เป็นคำถามที่มากกว่าเรื่องการเข้าถึงบทความในวารสารวิชาการ แต่รวมไปถึงข้อมูลต่างๆ ด้วย เช่นข้อมูลสภาพอากาศ สถิติ คลังข้อความ (corpus)
อีกประเด็นเกี่ยวเนื่องก็คือ ผู้จัดทำข้อมูลบางแห่งจะระบุว่า ถ้าไม่ได้เอาไปใช้เพื่อการค้าก็ฟรี (เช่นข้อมูลจากเว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา หรือคลังข้อมูลที่เนคเทคเผยแพร่ ซึ่งก็ imply ว่าถ้าจะเอาไปใช้เพื่อการค้าก็ต้องจ่าย)
ในกรณีของข้อมูลที่ได้มาจากเงินสาธารณะ ก็มีข้อถกเถียงว่า แม้จะเอาไปใช้เพื่อการค้า ก็ไม่ควรจะต้องจ่ายอีกแล้ว เพราะถือว่านี่เป็นการลงทุนโดยรัฐ คนทุกคนควรจะได้ประโยชน์จากตรงนั้นเท่ากันหมด และแม้จะมีเอกชนเอาไปใช้เพื่อการค้า แต่ถ้าข้อมูลตรงนั้นทำให้สินค้าหรือบริการมีคุณภาพดีขึ้น สาธารณะก็จะได้ประโยชน์อยู่ดีในที่สุด (และต่อให้เป็นบริษัทต่างชาติ เอาข้อมูลเกี่ยวกับไทยไปใช้ คนไทยก็น่าจะได้ประโยชน์จากสินค้าและบริการที่ "เข้าใจคนไทยมากขึ้น" อยู่ดี)
ในอีกทางอีกหนึ่ง ก็มีข้อถกเถียงว่า แต่ถ้าเก็บสตางค์บ้าง ก็จะทำให้ได้เงินกลับมาวิจัยเพิ่มเติม ก็เป็นประโยชน์กับสาธารณะเหมือนกัน
เปิดประเด็นไว้ครับ ว่าผลงานที่เกิดจากเงินของสาธารณะ ควรจะเปิดให้เข้าถึงยังไงแบบไหน
http://www.economist.com/node/21552574 PUBLISHING obscure academic journals is that rare thing in the media industry: a licence to print money. Jittat Fakcharoenphol ผู้ให้ทุนวิจัยก็มีการเริ่มบังคับให้ผลการวิจัยต้องเป็น public access แล้วนะครับ เช่น NIH http://publicaccess.nih.gov/
วันนี้ FBI จับ John ชาว Ohio ว่าเป็นหนึ่งใน Anonymous เป็นข่าวในสื่อสองสาม source (ในเวลาที่เขียน) พวก Anon ปล่อยเอกสารคำสั่งศาล ที่ระบุชัดว่า Twitter ให้ข้อมูลกับ FBI นอกจาก IP logs ยังรวมถึง tweet และ DM ด้วย
Indictment and Complaint against "Anonymous" hacker
John Anthony Borell III, of Toledo, Ohio, faces two counts of felony computer intrusion, according to court documents unsealed Monday in federal court.
Borell is accused of hacking the websites of the Utah Chiefs of Police Association and the Salt Lake City Police Department in January.
He is apparently associated with a group called "Anonymous," which is a hacker-activist network that encourages members to hack into computer systems, court documents state.
http://www.scribd.com/doc/89670544/Indictment-and-Complaint-against-Anonymous-hacker
ข่าวเกี่ยวกับ John
http://fox13now.com/2012/04/16/feds-arrest-man-accused-of-hacking-slc-pd-website-for-anonymous/
ข่าวจับ John
http://www.huffingtonpost.com/2012/04/16/john-anthony-borell-iii-anonymous-utah_n_1429106.html?ncid=edlinkusaolp00000003
PUBLISHING obscure academic journals is that rare thing in the media industry: a licence to print money.
Jittat Fakcharoenphol ผู้ให้ทุนวิจัยก็มีการเริ่มบังคับให้ผลการวิจัยต้องเป็น public access แล้วนะครับ เช่น NIH http://publicaccess.nih.gov/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น